รีวิว สยามสแควร์

รีวิว สยามสแควร์

สำหรับหนังเรื่องนี้ไม่ไช่อย่างที่ทุกคนคิดหรอกครับ ดูหนังฟรี  สำหรับ สยามสแควร์ ก็อย่างที่เรารู้ ๆ กันดี เป็นศูนย์การค้าเปิดโล่งแนวราบในย่านสยาม หนังผีไทย ที่คนไทยหลาย ๆ คนต่างรู้จักเป็นอย่างดีแต่หนังที่ผมมาแนะนำเพื่อน ๆ วันนี้ ไม่ไช่หนัง vlog หรือ แนะนำสถานที่แต่อย่างไร ดูหนังออนไลน์ แต่เป็นเรื่องราวของวัยรุ่น เด็กนักเรียน ที่ต้องเข้าไปพัวพัน สปอยหนังไทย กับวิญญาณ ณ สยามสแควร์ หนังเป็นผลงานการกำกับ เต็มตัวเรื่องแรกของ ป้อง-ไพรัช คุ้มวัน ผู้กำกับภาพของ Mary Is Happy, Marry Is Happy และ 36 ของผู้กำกับขวัญใจฮิปสเตอร์ พี่เต๋อ-นวพล ธำรงรัตนฤทธิ์ สยามสแควร์ ใช้สยามสแควร์…แหล่งท่องเที่ยวสุดฮิตของวัยรุ่นไทย…เป็นฉากหลังของภาพยนตร์ แต่คราวนี้ต่างจาก รักแห่งสยาม ตรงที่เขาจะเล่าตำนานสยองขวัญของสยามสแควร์ เรื่องของเด็กผู้หญิงที่หายไปอย่างลึกลับจากเหตุการณ์ไฟดับเมื่อ 30 ปีก่อน

อย่างไรก็ตาม หนังเขาก็ไม่ได้ใช้โลเกชั่นสยามสแควร์คุ้มค่ามากมายสมกับที่อุตส่าห์ตั้งชื่อหนังว่า สยามสแควร์ แต่อย่างใดหรอกนะ ประมาณเกือบ 80% ของหนัง เขาก็ถ่ายในห้องเรียนพิเศษเล็ก ๆ ในตึกกวดวิชาเก่า ๆ ก็เท่านั้นแหละ มีเดินไปเดินมาในซอยอื่นบ้าง หรือไปนั่งร้านมิลค์พลัสบ้าง แต่ก็ไม่ได้ใช้ประโยชน์อันใดมากนัก

รีวิว สยามสแควร์

รีวิว สยามสแควร์

รีวิว สยามสแควร์ สยามสแควร์ คือ ภาพยนตร์ไทย สยามสแควร์วัน แนวกึ่งสยองขวัญกึ่งข้ามพ้นวัย ของบริษัท สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ออกฉายในปี พ.ศ. 2560 กำกับโดย ไพรัช คุ้มวัน เขียนบทโดย เอกราช มอญวัฒ, ธีปนันท์ เพ็ชรศรี, ชาญชนะ หอมทรัพย์ และ ไพรัช คุ้มวัน นำแสดงโดย อิษยา ฮอสุวรรณ, มรกต หลิว และ พลอย ศรนรินทร์

เล่าเรื่องของวัยรุ่น 10 คนที่เข้าไปพัวพันกับเรื่องเล่าเกี่ยวกับวิญญาณเด็กสาว และ ต้องเผชิญกับเหตุการณ์ลึกลับน่าสะพรึงกลัว ที่เกิดขึ้นหลังเหตุการณ์ไฟดับในคืนหนึ่งที่สยามสแควร์

ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาพยนตร์เรื่องที่สามของสหมงคลฟิล์ม ถัดจาก สยามสแควร์ และ รักแห่งสยาม ที่ใช้สยามสแควร์เป็นฉากหลังหลักในการดำเนินเรื่อง

โดยเรื่องนี้เลือกเล่าถึงสถานที่ดังกล่าวด้วยมิติของภาพยนตร์สยองขวัญภายใต้แนวคิดหลักที่ว่า “สยามสแควร์มีผี” ด้วยการใช้ภาพ และ บรรยากาศของสยามสแควร์ยามค่ำคืนที่ทั้งเงียบเหงา และ น่ากลัว ต่างจากตอนกลางวันที่มีสีสัน และ ผู้คนพลุกพล่าน

นอกจากนี้ ผู้สร้างยังต้องการนำเสนอว่า สยามสแควร์มีการเปลี่ยนแปลง และ เปลี่ยนผ่านทั้งคน และ สถานที่อยู่เสมอ ภาพยนตร์เรื่องนี้จึงเปรียบเสมือนการเติมเต็มไตรภาคสยามสแควร์ต่อจากอีกสองเรื่องที่กล่าวถึงข้างต้น ด้วยการทำหน้าที่เป็นสมุดบันทึกช่วงเวลาหนึ่งของสยามสแควร์ รวมถึงบรรยากาศ และ ความคิดของผู้คนในอีกยุคสมัยที่ภาพยนตร์กล่าวถึงเอาไว้

เรื่องย่อ

รีวิว สยามสแควร์

​เมื่อราว ๆ 30 ปีก่อน เคยเกิดเหตุการณ์ไฟดับครั้งใหญ่ไปทั่วทั้งเวิ้งสยามสแควร์ พร้อม ๆ กับการหายตัวไปอย่างลึกลับของเด็กสาวคนหนึ่ง ซึ่งภายหลังได้กลายเป็นเรื่องเล่าสยองขวัญปากต่อปากจนถึงปัจจุบันว่า วิญญาณของเด็กสาวคนนั้นยังคงวนเวียนอยู่ในสยาม หากใครบังเอิญเจอ และ โดนผูกด้ายแดงเข้าที่ข้อมือจะมีอันเป็นไป

ตำนานเล่าสยองขวัญข้างต้นนี้ ได้เกิดขึ้นแล้วจริง ๆ ใน สยามสแควร์ หนังยาวเรื่องล่าสุดของ ไพรัช คุ้มวัน เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับกลุ่มเพื่อนนักเรียนมัธยมปลายในโรงเรียนกวดวิชาแห่งหนึ่ง ที่พาตัวเองเข้าไปพัวพันกับตำนานสยองขวัญดังกล่าวทั้งแบบตั้งใจ และ ไม่ตั้งใจ

จนโดนด้ายแดงผูกติดข้อมือกันถ้วนหน้า ทำให้พวกเขาต้องช่วยกันหาวิธีหนีให้พ้นจากตำนานบ้า ๆ นี้ไปให้ได้ ก่อนที่ชีวิตของพวกเขาจะโดนวิญญาณเด็กสาวพรากไปในท้ายที่สุด

ทว่าทางออกที่ต้องการกลับไม่ได้นำพามาแค่เส้นทางเท่านั้น แต่ยังเปิดเผยความจริงของตำนานสยองขวัญที่น่าเหลือเชื่อ และ น่าสนใจมาก เพราะใครจะไปคิดว่าอยู่ดี ๆ หนังผีพล็อตหลอน ๆ ที่มีจังหวะการหลอกแบบโหด ๆ แอบตลกบ้างเป็นครั้งคราวเรื่องนี้ จะพลิกพล็อตไปเล่นเรื่องการเดินทางข้ามกาลเวลา มิติคู่ขนาน และ ผีเทียมแบบไม่มีปี่มีขลุ่ยตอนกลางเรื่อง

ชนิดที่ทำเอาคนดูเกือบทั้งโรงเหวอไปกับความกล้าหักมุม 360 องศาได้ขนาดนี้

ความรู้สึกหลังรับชม

รีวิว สยามสแควร์

เรื่องรักหรือเรื่องประเด็นวัยรุ่นวัยว้าวุ่นเนี่ย แผนที่สยามสแควร์ ใส่มาได้นะไม่ผิด ไม่ได้ว่าเลย ดีซะอีกที่ใส่ แต่แค่อยากให้ใส่มาแล้วมันลงตัวกับพาร์ทอื่น ๆ ของหนังมากกว่านี้ ไม่ใช่ทำแล้วเละ ๆ งง ๆ อย่างตอนหนังเรื่อง รุ่นพี่ ที่พลอยชมพูเล่น มันก็ใส่นะ ไม่ได้ดีมากอะไร แต่ก็ยังทำได้ดีกว่า สยามสแควร์ อะ ส่วนหนึ่งก็อาจเพราะเรื่อง รุ่นพี่ มันยังไม่มากหมอมากความขนาดนี้ด้วยกระมัง

แล้ว สยามสแควร์ เนี่ย มันไม่ใช่แค่มีหลายเส้นเรื่องนะ แต่มันเส้นที่แบบ…จะผูกมาทำไมก็ไม่รู้ ผูกมาแล้วก็ทิ้ง คือดูจบแล้วก็ไม่รู้ว่า สรุปแก๊ง Ghost Your Dad ของม่อน (เบสท์) ได้ส่งคลิปล่าท้าผีส่งเข้าประกวดหรือเปล่า ไม่รู้ว่าเฟิร์น (เหม่ยเหมย) จะเล่นเปียโนต่อมั้ย ฯลฯ

ในส่วนของความหลอนหรือความน่ากลัว หนังเขาดูมีความตั้งใจ และ พยายามที่จะทำให้หนังออกมาเป็นหนังผีที่ทันสมัย แปลกใหม่ โดนใจวัยรุ่น ซึ่งยอมรับว่าชื่นชมในความกล้าที่จะทำหนังผีแนวนี้ แต่เรื่องราวของตำนานผีสยาม และ สัญลักษณ์ผีสางทั้งหลายมันควรจะออกมาดีกว่านี้มาก ๆ หากตัดตัวละคร และ ประเด็นยิบย่อยนั่นออกไปซะ

และ อีกอย่างนึงคือ… เป็นหนังผี จะใช้เทคนิค Jump Scare เราก็ไม่ว่าหรอกนะ แต่เปลี่ยนซาวนด์หรือลด Volume ของซาวนด์หน่อยเถอะ นี่คือตกใจเสียงซาวนด์ประกอบตุ้งแช่มากกว่าสิ่งที่หนังตั้งใจให้เราตกใจกับมันเสียอีกค่ะ

แต่พาร์ทตำนานผีที่เป็น Untold Story เนี่ย ยังทำออกมาไม่ค่อย convincing สักเท่าไหร่ โลเกชั่นในส่วนของสถาบันกวดวิชานั่นก็ด้วย สภาพโทรมซอมซ่อเกินกว่าจะเรียกได้เต็มปากว่าเป็นสถาบันกวดวิชาย่านสยามสแควร์ สภาพนี่ไม่อยากจะเชื่อว่าจะมีผู้ปกครองยอมจ่ายตังค์ให้ลูกหลานมาเรียนได้ ยิ่งค่ำ ๆ ดึก ๆ นี่… อย่าว่าแต่กล้าขึ้นมาผูกด้ายแดงกับเก้าอี้คนเดียว(เพื่อขอให้สอบติด)เลย นี่ก็ไม่อยากจะเชื่อว่าจะมีเด็กกล้าขึ้นมานั่งเรียนในคลาสค่ำ ๆ มืด ๆ

ส่วนที่ต้องชื่นชมเห็นจะเป็น คือ ประเด็นดราม่า ค่อนข้างที่จะน่าสนใจ เพราะดูมีความซับซ้อนกว่าหนังไทยหลาย ๆ เรื่อง หนังค่อนข้างที่จะผูกปมได้ดี และ กล้าที่จะเลือกหยิมประเด็น และ มุมมอง ใหม่ ๆ ของทั้งผี ปัญหาวัยรุ่น เรื่องราวของมิตรภาพ และ การทำอะไรโดยไม่ยั้งคิด ด้วยประสบการณ์อันน้อย โดยไม่แคร์ถึงผลที่จะตามมา ผ่านการเอาผี มาเป็นตัวดึงดูด และ นำพาหนังไปสู่ประเด็นสำคัญที่ หนังต้องการสื่อจริง ๆ ได้อย่างมีชั้นเชิง

รีวิว สยามสแควร์

รีวิว สยามสแควร์ สยามสแควร์ ได้นำไปสู่ประเด็นหลักของหนัง สยามสแควร์ 2022 ที่ว่าด้วยการสร้าง ‘ผีเทียม’ ซึ่งเป็นผีที่เกิดจากการสื่อสารทั้งคำพูดหรือการเขียนต่อ ๆ กันไปเรื่อย ๆ เกิดการผลิตซ้ำทางวาทกรรมด้วยความเชื่อมากกว่าเหตุผลข้อเท็จจริง จนสุดท้ายจากสิ่งที่ไม่เคยมีตัวตนอยู่บนโลกก็ถือกำเนิดขึ้น ไปพร้อม ๆ กับชุดความจริงบางอย่างที่โดนกลบฝังด้วยความเชื่อที่ขาดข้อเท็จจริง

ซึ่งหลายครั้งหลายหนที่ผีเทียมได้สร้างความเจ็บปวดให้คนที่เกี่ยวข้องอยู่บ่อย ๆ

วิธีขับไล่ผีเทียมที่เกิดจากการผลิตซ้ำทางวาทกรรม คงไม่มีวิธีไหนดีไปกว่าการหาความจริงมาลบล้างความเชื่อผิด ๆ รวมทั้งยังต้องเลิกการผลิตซ้ำ และ เลิกให้ค่ากับผีเทียมเหล่านั้น เหมือนกับการที่ตัวละครในเรื่อง สยามสแควร์ เลือกวิธีปิดตาไม่มองผีเทียมแทนการใช้พระหรือสวดมนต์แบบหนังผีเรื่องอื่น ๆ

ซึ่งถือเป็นเรื่องน่าสนใจ และ แปลกใหม่มาก กับการดูหนังผีไทยที่ไม่มีพระหรือพิธีกรรมทางศาสนาเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะตัวละครกลุ่ม Ghost Your Dad (แปลง่าย ๆ ว่า ผีพ่อคุณอะ) ถึงจะกลัวผี แต่ก็เลือกที่จะมองด้วยเหตุ และ ผลมากกว่าความเชื่อแบบเดิม ๆ

บทสรุป

แต่ถ้าถามว่าโดยรวมดูได้มั้ย… เออ สยามสแควร์ สยามสแควร์ ซอย 2 ก็เป็นหนังไทยที่ดูได้อยู่นะ ถ้าไม่คาดหวังอะไรมาก คือก็มีประเด็นวัยรุ่น เช่น เรื่องเพื่อน เรื่องความรัก เรื่องความต้องการการยอมรับ ฯลฯ คือก็พอมีอะไรใหม่ ๆ ให้ดู ถึงแม้ว่าจะเป็นการเริ่มต้นทำอะไรใหม่ ๆ ที่มั่ว ๆ งง ๆ เป็นต้มจับฉ่ายไปเสียหน่อย แต่อย่างน้อยมันก็พอมีรสชาติอยู่บ้างอะไรบ้าง

อย่างน้อยที่สุดดาราเด็ก ๆ หลายคนก็เจริญหูเจริญตา และน้องเบสท์โอปป้าก็มอบความบันเทิงให้เราได้ไม่น้อย ถึงจะบอกว่า สยามสแควร์ เป็นหนังที่มีประเด็นซ่อนเอาไว้เยอะมาก ก็ไม่ได้หมายความว่าเราจำเป็นต้องเก็บรายละเอียดไปหมดทุกเม็ด จริง ๆ เอาแค่เข้าไปดูแบบไม่คิดอะไรเลยก็ยังได้ เพราะจังหวะจะโคนในการเล่าเรื่องของหนังทำได้ดีทีเดียว อาจไม่หักมุมรุนแรงมากนัก แต่มันก็เหวอมากพอให้สบถดัง ๆ ได้เหมือนกัน

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *