รีวิว เวลา anatomy of time
สวัสดีครับเชื่อว่าหลาย ๆ คน หนังไทยใหม่ล่าสุด คงสับสนกัน ว่านี่มันหนังอะไรวะ ? ซึ่ง ภาพยนตร์ไทย สปอยหนังไทย เวลา anatomy of time อาจจะไม่ค่อยพบเจอหนังแนว ๆ นี้มากนักในบ้านเรา แต่หากใครที่พร้อมจะรับชมแล้วละก็เราก็ขอแนะนำให้เตรียมทิชชู่ ไว้เลยครับ หนังจะพาคุณยิ้มปาดน้ำตาไปในเวลาเดียว ดูหนังออนไลน์ เวลา (Anatomy of time) หนังไทยที่ได้รางวัลจากการเข้าฉายในเทศกาลหนังทั่วโลก ดูหนังฟรี ทั้งรางวัล Grand Prize (Best Film) จากงาน TOKYO FILMeX ประเทศญี่ปุ่น, รางวัล Special Mention Award จากงาน Five Flavours Film Festival เมืองวอร์ซอ ประเทศโปแลนด์ และ รางวัล Bisato Award for Best Screenplay จากงาน Venice International Film Festival ประเทศอิตาลี โดยผู้กำกับ จักรวาล นิลธำรงค์ (Vanishing Point, 2548) เล่าเรื่องราวของหญิงชราที่ต้องดูแลสามีในช่วงสุดท้ายของชีวิต และ เป็นช่วงเวลาที่เธอได้มองย้อนกลับไปยังอดีตที่ทั้งขมขื่น และ เปี่ยมสุข
รีวิว เวลา anatomy of time
รีวิว เวลา anatomy of time หนังไทยเรื่องที่ว่านั้นก็คือ Anatomy of Time รอบฉาย “เวลา” หรือชื่อภาษาอังกฤษที่ว่า “Anatomy of Time” ผลงานล่าสุดของผู้กำกับ “จักรวาล นิลธำรงค์” (จาก Vanishing Point) ที่รับหน้าที่เขียนบทหนังเรื่องนี้เองด้วย โดยหนังได้ถูกรับเลือกให้เข้าฉาย และ มีสิทธิ์เข้าประกวดในสาย Orizzonti Competition ของเทศกาลหนังเวนิสในครั้งนี้
“เอิงเอย-ประภามณฑล เอี่ยมจันทร์”, “เทวีรัตน์ ลีลานุช”, “วัลลภ รุ่งกำจัด” และ “โสระบดี ช้างศิริ” เป็นทีมนักแสดงในหนังเรื่องนี้ หนังเป็นการร่วมทุนสร้างระหว่าง 4 บริษัทโปรดักชั่นจาก 4 ชาติ ประกอบด้วย ไทย, ฝรั่งเศส, เนเธอร์แลนด์ และ สิงคโปร์ โดยเนื้อหาของหนังจะเป็นพูดภาษาไทยทั้งหมด ขณะนี้ยังไม่มีรายละเอียดวันพรีเมียร์ที่แน่ชัดในเทศกาลหนังครั้งนี้ออกมา
และ นอกจากนี้ ในเทศกาลหนังเวนิส 2021 ยังมีหนังไทยอีกเรื่อง นั่นก็คือหนังสั้นที่ชื่อว่า “ผิดปกติใหม่” (New Abnormal) ของหนังทำหนังอิสระชาวไทย “สรยศ ประภาพันธ์” (จาก อวสานซาวด์แมน) ที่ได้รับเลือกให้เข้าสายประกวด Orizzonti Short Films ประจำเทศกาลหนังเวนิซในครั้งนี้
โดยหนังสั้นเรื่อง ผิดปกติใหม่ เป็นเรื่องราวของเหตุการณ์ที่น่าอึดอัดระหว่างวิกฤตโควิด-19 ภายใต้การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินของไทย ตามรายงานระบุว่าหนังเรื่องนี้ได้รับทุนสร้างหนังส่วนหนึ่งมาจากกองทุนก้าวหน้า ภายใต้คณะก้าวหน้าในไทยด้วย
เรื่องย่อ
ภาพยนตร์จะพาผู้ชมไปติดตามเรื่องราวของ แหม่ม (เทวีรัตน์ ลีลานุช) หญิงชราวัย 70 ปีที่ยังคงดูแลสามี (โสระบดี ช้างศิริ) ผู้มีฐานะเป็นถึงนายพล ในช่วงสุดท้ายของชีวิตอย่างใกล้ชิด แม้ว่าจะสร้างความลำบากยากเข็ญให้เธอขนาดไหนก็ตาม และ ในช่วงเวลาเหล่านั้นก็ทำให้เธอได้มองย้อนกลับไปยังอดีตอันเปี่ยมไปด้วยความสูญเสีย ความขมขื่น แต่ก็ตราตรึงไปด้วยความสุขเมื่อครั้งเธอยังสาว
การดำเนินเรื่อง
Anatomy of Time เป็นการเล่าเรื่องอย่างแยบยล Anatomy of Time รอบฉาย ถึงความน่าฉงนของ ‘เวลา’ ผ่านตัวละครหลักในพาร์ตปัจจุบัน และ อดีตที่เล่าย้อนไปไกลถึงยุคเผด็จการทหารช่วงปี 60s
ตัวหนังเล่าเรื่องโดยตัดสลับภาพวันวานอันหอมหวานผ่านความทรงจำของ แหม่ม ในวัยสาวแรกรุ่น และ ภาพความเป็นอยู่ในปัจจุบันของตัวเธอใน 50 ปีให้หลัง ที่ต้องมาดูแลสามีที่นอนป่วยติดเตียง
ซึ่งในอดีตเคยเป็นนายพลยศใหญ่มาก่อน โดยทั้งหมดทั้งมวลนี้ถูกถ่ายทอดผ่านเส้นเรื่องที่เหมือนจะตรง แต่ก็บางเบา คาดเดาไทม์ไลน์ที่แน่นอนไม่ได้ แถมยังเต็มเปี่ยมไปด้วยความกระอักกระอ่วนของการตั้งใจเล่นแบบละครเวทีของนักแสดงนำในพาร์ตอดีต
หากจะตีความหนังให้เป็นการเมืองอย่างที่ใครหลายคนคงคาดเดาไว้ หลายคนอาจโฟกัสไปที่บทของนักแสดงนำชายในเรื่องที่ตั้งใจวางตัวละครให้เกี่ยวโยงกับระบอบเผด็จการ และ ความเป็นเสนาธิการทหารยศใหญ่
แต่หากจะตีความในเรื่องการชำแหละแก่นแท้ของ ‘เวลา’ สิ่งอันเร้นลับที่สุดอย่างหนึ่งของโลก ผ่านห้วงความคำนึงคิด การกระทำ การตัดสินใจ ณ ช่วงเวลาหนึ่ง และ การวิธีการเล่าเรื่องที่แปลกใหม่ ไม่เหมือนใคร ตามสไตล์หนังของอาจารย์เก่งแล้ว หนังเรื่องนี้อาจเป็นกุญแจปลดล็อกความพิศวงของห้วงเวลาได้ดีที่สุดอย่างหนึ่งเลยทีเดียว
รีวิว เวลา anatomy of time
รีวิวเวลา anatomy of time ในปี 2021 วงการหนังไทยประสบปัญหาอย่างหนัก Anatomy of Time Pantip จากสภาวะที่เกิดขึ้นในประเทศ เนื่องจากไม่สามารถขับเคลื่อนวงการไปต่อได้จากผลกระทบของโควิด-19 แต่ในทางกลับกันนั้น หนังไทยสามารถเฉิดฉายในต่างประเทศได้อย่างงดงาม เพราะมีหนังไทยตระเวนออกฉายในเทศกาลหนังต่าง ๆ ตั้งแต่ช่วงต้นปี ไม่ว่าจะเป็น “One for the Road” ของผู้กำกับ “นัฐวุฒิ พูนพิริยะ” หรือ “พญาโศกพิโยคค่ำ” ของผู้กำกับ “ไทกิ ศักดิ์พิสิษฐ์”
ความดีงามของหนังสายทดลองเรื่องนี้ของ เก่ง จักรวาล นิลธำรงค์ นอกจากจะการันตีด้วยรางวัล Bisato Award for Best Screenplay จากงานเทศกาลหนังเมืองเวนิสแล้ว ยังได้รับเสียงตอบรับอย่างดีจากนักดูหนังในเทศกาลภาพยนตร์เมืองปูซาน
รวมถึงได้รับเลือกให้ฉายใน Taipei Golden Horse Film Festival, Singapore International Film Festival และ คว้ารางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยมในงานเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติ Tokyo FILMeX 2021 ณ ประเทศญี่ปุ่นอีกด้วย
ไม่เพียงแค่ดีกรีการทำหนังแบบทดลองไปเรื่อย และ ซุ่มทำบทมาหลายปีของอาจารย์เก่งเท่านั้น แต่หนังเรื่องนี้ยังมาพร้อมการคัดสรรนักแสดงนำที่เปี่ยมด้วยคุณภาพ อาทิ เอิงเอย ประภามณฑล เอี่ยมจันทร์ จากหนังเรื่อง Motel Mist, อุ้ม วัลลภ รุ่งกำจัด จาก กระเบนราหู, บี๋ เทวีรัตน์ ลีลานุช จาก ทวิภพ และ โสระบดี ช้างศิริ จาก The Maid นี่เลยเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้จักรวาลหนังของอาจารย์เก่ง ยิ่งท้าทายสายตา และ คำวิจารณ์ของนักดูหนังบ้านเราเป็นอย่างมาก
บทสรุป
Anatomy of Time เป็นการเล่าเรื่องอย่างแยบยล Anatomy of Time เรื่องย่อ ถึงความน่าฉงนของ ‘เวลา’ ผ่านตัวละครหลักในพาร์ตปัจจุบัน และ อดีตที่เล่าย้อนไปไกลถึงยุคเผด็จการทหารช่วงปี 60s ตัวหนังเล่าเรื่องโดยตัดสลับภาพวันวานอันหอมหวานผ่านความทรงจำของ แหม่ม ในวัยสาวแรกรุ่น และ ภาพความเป็นอยู่ในปัจจุบันของตัวเธอใน 50 ปีให้หลัง ที่ต้องมาดูแลสามีที่นอนป่วยติดเตียง ซึ่งในอดีตเคยเป็นนายพลยศใหญ่มาก่อน
โดยทั้งหมดทั้งมวลนี้ถูกถ่ายทอดผ่านเส้นเรื่องที่เหมือนจะตรง แต่ก็บางเบา คาดเดาไทม์ไลน์ที่แน่นอนไม่ได้ แถมยังเต็มเปี่ยมไปด้วยความกระอักกระอ่วนของการตั้งใจเล่นแบบละครเวทีของนักแสดงนำในพาร์ตอดีต
หากจะตีความหนังให้เป็นการเมืองอย่างที่ใครหลายคนคงคาดเดาไว้ หลายคนอาจโฟกัสไปที่บทของนักแสดงนำชายในเรื่องที่ตั้งใจวางตัวละครให้เกี่ยวโยงกับระบอบเผด็จการ และ ความเป็นเสนาธิการทหารยศใหญ่ แต่หากจะตีความในเรื่องการชำแหละแก่นแท้ของ ‘เวลา’
สิ่งอันเร้นลับที่สุดอย่างหนึ่งของโลก ผ่านห้วงความคำนึงคิด การกระทำ การตัดสินใจ ณ ช่วงเวลาหนึ่ง และ การวิธีการเล่าเรื่องที่แปลกใหม่ ไม่เหมือนใคร ตามสไตล์หนังของอาจารย์เก่งแล้วหนังเรื่องนี้อาจเป็นกุญแจปลดล็อกความพิศวงของห้วงเวลาได้ดีที่สุดอย่างหนึ่งเลยทีเดียว